วันอาทิตย์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2554

วิธีเติมหมึก Laser HP Laserjet

วิธีเติมหมึก Laser HP Laserjet




วิธีการเติมหมึกคือ
1.  ถอดน็อตด้านข้าง ด้านที่มี chip ประมาณ 2 ตัวครับ 
2.  หลังจากนั้นจะเห็นจุกสีขาวปิดช่องเติมหมึกอยู่ให้เอาจุกสีขาวออก
3.  เทหมึกของเก่าออกให้หมด แล้วเติมผงหมึกใหม่ลงไป
4.  เปลี่ยน chip ใหม่แล้วปิดฝาขันน็อตเป็นอันเสร็จเรียบร้อย
ถ้าจะให้ดีควรทำความสะอาดห้องเก็บหมึกเสียด้วยอยู่ด้านบนชุดดรัมขันน็อต 2 ตัวเหมือนกันครับ ลองดูนะ

วิธีการติดตั้งอิงค์แทงค์

วิธีติดตั้งอิงค์แทงค์
1. เติมหมึกใส่แท้งค์ ไม่ต้องใช้เข็มฉีดยา.. แกะหัวออกแล้วเทเติมได้เลยเร็วดี
ให้คลิบหนีบสายไว้ก่อน กันไม่ให้น้ำหมึกไหล




2. นำตลับหมึกมาแล้ว แกะสติกเกอร์ออก เจาะตามรูอากาศเดิม ใช้ดอกสว่านขนาด 4มิลิเมตร






3. เมื่อเจาะเสร็จแล้ว นำบูตยางรอง มาใส่



 4. เปิดฝาเครื่อง เอาตัวกดตลับออก ใช้ใบเลื่อยตัดออกตามรูป




5. ใส่กลับคืนจะเป็นตามรูป  ทำไว้สำหรับหลบข้อต่อสายแพรน้ำหมึก

   
6. เปิดฝาข้างเครื่อง ตัดช่องสำหรับให้สายแพรผ่าน กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร



7. เจาะฝาข้าง สำหรับยึดแท้งค์ ระยะห่างกันประมาณ 12เซนติเมตร

 
8. เอาคลิปหนีบสายแพรออก ไล่น้ำหมึกมาที่ปลายสาย
ใช้คลิปหนีบสายแพรไว้เหมือนเดิม เพื่อไม่ให้น้ำหมึกไหล
ตัดสายสีดำ และ สีเหลือง ออกประมาณ 1 เซนติเมตร
เอาข้อต่อ ตัว L มาต่อกับสายแพรน้ำหมึก








9. สอดสายแพร เข้าด้านข้างที่เปิดไว้ เอาฝาข้างประกอบกลับคืนยึดแทงค์ตามรูป






10. ต่อสายเข้าตลับสีก่อนเรียงตามรูป แล้วนำตลับตำมาต่อ
วางตลับลงในเครื่อง
 




เปิดฝาล๊อกตลับ ฝาที่เราตัดไว้จะหลบ และปิดตลับได้พอดี
จัด ระยะสายให้เหมาะสม เป็นอันเสร็จ



  
งานบริการระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)

แลนไร้สาย หรือ ไวเลสแลน
แลนไร้สาย หรือ ไวเลสแลน คือ เทคโนโลยีที่เชื่อมอุปกรณ์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน โดยใช้วิธีการกระจายแบบไร้สาย (ส่วนใหญ่แล้ว จะใช้ spread-spectrum หรือคลื่นวิทยุ OFDM) โดยปกติแล้ว จะมีการเชื่อมต่อผ่านทาง Access Point เพื่อเข้าไปยังโลกอินเตอร์เน็ต แลนไร้สายทำให้ผู้ใช้สามารถนำพาหรือเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไปยังพื้นที่ใดก็ได้ที่มีสัญญาณแลนไร้สายได้รับความนิยมอย่างมากในคอมพิวเตอร์ตามบ้านเนื่องจากติดตั้งง่าย และยิ่งได้รับความนิยมมากขึ้นในกลุ่มแล็ปท็อป ธุรกิจหลายแขนงเริ่มให้บริการการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตผ่านทางแลนไร้สายกับลูกค้าที่มาใช้บริการ เช่น ร้านกาแฟ ซึ่งส่วนใหญ่มักให้บริการแบบไม่คิดมูลค่า นอกจากนี้ ในเมืองใหญ่ๆ เช่น นิวยอร์ค มีการสร้างเครือข่ายแลนไร้สายขนาดใหญ่ให้คนทำงานสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้โดยสะดวกในพื้นที่สาธารณะอีกด้วย [1]แลนไร้สาย เป็นเทคโนโลยีสื่อสารเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาตรฐาน IEEE802.11 ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายภายในพื้นที่แบบไร้สาย โดยใช้คลื่นความถี่วิทยุในการสื่อสารกัน การสื่อสาร
ไวเลส (Wireless) คือ ไม่มีสาย ทำงานเช่นเดียวกับแลนปกติที่เชื่อมต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยสายสัญญาณ เช่น สาย UTP และ ไวเลส ใช้การเชื่อมต่อที่ไม่มีมีสาย
แลน (LAN) คือระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน 
               ระบบเครือข่ายไร้สาย
         ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือ ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรือ WLAN  เป็น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายแบบไร้สาย (ไม่จำเป็นต้องเดินสายเคเบิ้ล) เหมาะสำหรับการติดตั้งในสถานที่ที่ไม่สะดวกในการเดินสาย หรือในสถานที่ที่ต้องการความสวยงาม เรียบร้อย และเป็นระเบียบ เช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้

                                        หลักการทำงานของ  Wireless LAN
          การทำงานจะมีอุปกรณ์ในการส่งสัญญาณ และกระจายสัญญาณ หรือที่เราเรียกว่า Access Point และมี PC Card ที่เป็น LAN card สำหรับในการเชื่อมกับ access point โดยเฉพาะ การทำงานจะใช้คลื่นวิทยุเป็นการรับส่งสัญญาณ โดยมีให้เลือกใช้ตั้งแต่ 2.4 to 2.4897 GHz และสามารถเลือก config ใน Wireless LAN (ภายในระบบเครือข่าย Wireless LAN ควรเลือกช่องสัญญาณเดียวกัน)
การเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดังนี้
 1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer) 

        2. การเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server)
ประโยชน์ของระบบ Wireless LAN

 1. สะดวกในการเคลื่อนย้าย ติดตั้ง เนื่องจาก WLAN ไม่จำเป็นต้องมีสายเคเบิ้ลในการต่อพ่วง 
 2. ง่ายในการติดตั้ง เพราะไม่จำเป็นต้องเดินสายเคเบิ้ล 
 3. ลดค่าใช้จ่าย เนื่องจากไม่ต้องจำเป็นต้องเสียค่าบำรุงรักษา ในระยะยาว 
 4. สามารถขยายเครือข่ายได้ไม่จำกัด

ข้อเสียของระบบ Wireless LAN

  1. มีอัตราการลดทอนสัญญาณสูง นั่นหมายความว่า ส่ง   สัญญาณได้ระยะสั้น
  2. มีสัญญาณรบกวนสูง
  3. ต้องแชร์กันใช้ช่องสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกัน
  4. ยังมี หลายมาตรฐาน ตามผู้ผลิต แต่ละราย ทำให้มีปัญหาในการใช้งานร่วมกัน
  5. ราคาแพงกว่าระบบเครือข่ายแบบ